เพิ่มบล็อกใหม่เข้ามา.. Thai Creative Economy Get link Facebook Twitter Pinterest Email Other Apps November 09, 2012 ครู่ใหญ่ ๆ ได้สร้างบล็อกใหม่ขึ้นมา คือ thaicreativeeconomy.blogspot.com สำหรับพูดถึง ฉreative Economy ในประเทศไทยโดยเฉพาะ และได้เพิ่มเข้ามาในรายชื่อบล็อกด้านขวานี้เรียบร้อยแล้ว ....... Get link Facebook Twitter Pinterest Email Other Apps Comments VnatatNovember 29, 2012 at 12:22 AMเพิ่ม ๆ ๆ ๆ ๆ ..สนุกดีครับ :)ReplyDeleteRepliesReplyAdd commentLoad more... Post a Comment การแสดงความคิดเห็น ขอให้เคารพในสิทธิของบุคคลอื่นและไม่ละเมิดพรบ.ICT ..เชิญครับ :)
กำลังปรับปรุงกราฟิกของเว็บนะครับ April 30, 2023 ในเมื่อต้องใช้เป็นนามบัตรเสมือน ก็จะต้องปรับปรุงหน้าตาเว็บตัวเองสักหน่อยหลังจากที่ไม่ได้เข้ามาใช้งานเท่าไหร่เพราะอยู่กับเฟซบุ๊กโปรไฟล์ซะเป็นหลักครับ ซึ่งก็คงใช้เวลาสักครู่ใหญ่ ใครผ่านมาอ่านก็ไว้แวะมาเยี่ยมเยียนกันอีกครั้งนะครับ, ขอบคุณมากครับ อ่านต่อ »
May 29, 2019 ไม่ได้เขียนอะไรในเว็บตัวเองนานถึงสามปีเลย ส่วนใหญ่ใช้แต่เฟซบุ๊ก บทความหรืออะไรต่อมิอะไรเขียนในเฟซบุ๊กซะหมด และตอนนี้งานตัวเอง + งานวิจัยเพื่อส่วนรวมก็หนักหน่วงมาก คิดว่าอีกสักพักใหญ่คงเอาอะไรที่เขียนในโน้นมาเผยแพร่ที่นี่บ้าง คงคัดลอก + เขียนเสริมเอาใหม่เลยแทนที่จะฝังโค้ดมา แล้วก็วางลิงค์อ้างอิงไว้โดยไม่เป็นไฮเปอร์ลิงค์ดีกว่า จะได้ไม่มีปัญหาทีหลัง (ว่าทำเว็บ/บล็อกนี้เพื่อเป็นฟาร์มแบ็คลิงค์หรือย่างไร เพราะไม่ได้อยากจะทำแบบนั้น) หลายอย่างบอกจะทำเกี่ยวกับที่นี่ แต่ก็ยังไม่มีโอกาสจะได้ลงมือซะที อ่านต่อ »
สมาธิตื้น สมาธิลึก September 28, 2015 เรามักได้ยินคำว่า "สมาธิสั้น" กันอยู่ทั่วไป มักจะอธิบายตามมาว่าเป็นการโฟกัสในแต่ละสิ่งต่อเนื่องกันนาน ๆ ไม่ได้, แต่อันที่จริงแล้ว ส่วนใหญ่ก็จะพบกันว่า คนที่ถูกระบุว่าสมาธิสั้นนั้น ยังไงก็จะมีกิจกรรมบางอย่างที่เขาสามารถโฟกัสต่อเนื่องนาน ๆ ได้ คำถามก็เลยอยู่ที่ว่า.. "อะไรคือสมาธิสั้นกันแน่?" - - - ในพุทธศาสนา, ถ้าเราวิเคราะห์ไปที่ "อารมณ์ของคน" และการตอบสนองข้อมูลที่เข้ามาในระดับบ "พื้นผิว" หรือฉากหน้า หรือเนื้อหาที่มองเห็นได้, พื้นผิวย่อมหมายถึง "ชั้นตื้น" จิตและคุณสมบัติที่เรียกว่า "ภวังค์" นั้นคือพฤติการณ์แห่งสมาธิ ภวังค์ระดับตื้น จึงเป็นการตอบสนองในระดับพื้นผิวหน้าหรือบนสุดของข้อมูลหรือสถานการณ์ที่ปรากฏเป็นประจักษ์ (ปรากฏซึ่งหน้า) และการเว้นช่วงทางเวลาในแต่ละ "การต่อบท" ภายในสถานการณ์สดนั้น คือการได้ทำงานหยั่งของภวังค์ ถ้าเวลาน้อยก็จะทันได้หยั่งไม่ลึก ถ้าเว้นช่วงมากหน่อยก็จะหยั่งได้ลึกขึ้น คือลงไปชั้นเหตุและผล และกระทั่งชั้นพิจารณ์จากความทรงจำและประสบการณ์เก่าที่สัมพันธ์กับสถานการณ์ซึ่งหน้า ณ ปัจจุบัน อ่านต่อ »
เพิ่ม ๆ ๆ ๆ ๆ ..สนุกดีครับ :)
ReplyDelete